ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ทะเลในแนวปะการัง
แนวปะการังเป็นแหล่งที่มีความอุดมสมบูรณ์ สัตว์ทะเลนับร้อยชนิดมาอาศัยอยู่รวมกัน ทั้งสัตว์มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสันหลัง โดยมีปะการังเป็นสัตว์กลุ่มใหญ่ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง กลุ่มที่พบทั่วไปในแนวปะการัง ได้แก่
1. ฟองน้ำ : Phylum Porifera
เป็นสัตว์ที่มีโครงสร้างคำจุนเป็นสบิดุล(Spicule) และเส้นใยโปรตีน (Spongin) ผนังด้านในมีเซลล์ปลอกคอ(collar cell) ทำหน้าที่กรองออกซิเจนจับอาหาร และย่อยอาหารลำตัวพรุนเป็นโพรงเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำเล็กๆสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อ ตัวอย่างฟองน้ำทะเลบริเวณหมู่เกาะต่างๆ จังหวัดชลบุรี
2. ไนดาเรีย : Phylum Cnidaria
สัตว์กลุ่มนี้มีรูปร่างคล้ายร่ม(medusa) โครงสร้างระหว่างเนื้อเยื่อมีของเหลวคล้ายวุ้น(Mesoglea)แทรกอยู่ มีลักษณะพิเศษ คือเข็มพิษ(nematocyst) ใช้ป้องกันตัวและจับเหยื่อ รอบปากมีหนวด(tentacle)ทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ การสืบพันธุ์ แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อ และแบบอาศัยเพศ สัตว์ในกลุ่มนี้แบ่งได้ดังนี้
2.1 ปะการังแข็งได้แก่ ปะการังดอกกะหล่ำ ปะการังเขากวาง ปะการังนิ้วมือ ปะการังดอกเห็ดปะการังรองเท้าแตะปะการังบูมเมอแรง ปะการังพาน ปะการังใบหิน ปะการังโขด ปะการังลายดอกไม้ ปะการังช่องหินอ่อน ปะการังลายกลีบดอกไม้ ปะการังกาแล็คซี่
ปะการังดอกเห็ด, Fungia (Fungia) fungites
ปะการังสมอง, Platygyra sinensis ปะการังลายดอกไม้, Coeloseris mayeri
2.2 ปะการังอ่อนได้แก่ ปะการังอ่อนดอกเห็ด ปะการังอ่อนนิ้วมือ ปะการังอ่อนต้นวุ้น ปะการังอ่อนใบเฟิร์น
ปะการังอ่อนนิ้วมือ, Sinularia sp.
.ปะการังอ่อนดอกเห็ด, Sarcophyton sp
2.3 กัลปังหา ได้แก่ กัลปังหาดอกขาว กัลปังหาสีเขียว กัลปังหาสีแดงดอกม่วง กัลปะหาสีแดงดอกเหลือง กัลปังหาแส้ กัลปังหาสรส้ม กัลปังหาสีแดง
2.4 ปากทะเล
2.5 พรมทะเล
กัลปังหาดอกขาว, Acanthogorgia sp.
2.6 ดอกไม้ทะเล เป็นแหล่งที่อยู่ของปลาการ์ตูน สามารถปรับตัวอยู่ตามซิกปะการัง พื้นทรายหรือวัตถุใต้น้ำในแนวปะการัง ได้แก่ ดอกไม้ทะเลดิน ดอกไม้ทะเลหนวดปม ดอกไม้ทะเลหนวดโป่ง ดอกไม้ทะเลลูกปัด ดอกไม้ทะเลดินสีม่วง ดอกไม้ทะเลเห็ดหูหนู ดอกไม้ทะเลปลอกดอก
ไม้ทะเลหนวดปม, Entacmaea sp.2
ดอกไม้ทะเล, Phymanthus aff. crucifer
2.7 ปะการังดำ เป็นไนดาเรีย คล้ายกัลปังหา มีหนวดหกเส้นเหมือนดอกไม้ทะเล ได้แก่ ปะการังดำ และแส้ทะเล
2.8 ไฮดรอยด์เป็นไนดาเรียที่อาศัยอยู่รวมกันแบบโคโลนี คล้ายต้นไม้แตกแขนงออกไปเป็นซีกซ้ายขวา ได้แก่ขนนกทะเล
2.8 ไฮดรอยด์เป็นไนดาเรียที่อาศัยอยู่รวมกันแบบโคโลนี คล้ายต้นไม้แตกแขนงออกไปเป็นซีกซ้ายขวา ได้แก่ขนนกทะเล
ปะการังดำ, Antipathes sp.
ไฮดรอยด์, Pinnaria disticha
2.9 ปะการังไฟเป็นสัตว์มีพิษคล้ายขนนกทะเล
2.10แมงกะพรุนแท้มีลักษณะคล้ายร่มก้านร่มเป็นอวัยวะใช้หาอาหราและทางเดินอาหารเป็นสัตว์เศรษฐกิจนำมาแปรรูปเป็นอาหารได้แก่แมงกะพรุนไฟแมงกะพรุนหนัง
2.10แมงกะพรุนแท้มีลักษณะคล้ายร่มก้านร่มเป็นอวัยวะใช้หาอาหราและทางเดินอาหารเป็นสัตว์เศรษฐกิจนำมาแปรรูปเป็นอาหารได้แก่แมงกะพรุนไฟแมงกะพรุนหนัง
ปะการังไฟ, Millepora platyphylla
แมงกระพรุนไฟ, Rhopilema hispidum3. หวีวุ้น (comle jellyfishes) คล้ายแมงกะพรุน ลักษณะกลม ใส ผนังลำตัวมีแถบซี่หวี ดำรงชีวิตเป็นแพลงตอนสัตว์
4. สัตว์กลุ่มหนอนทะเล ได้แก่หนอนตัวแบนหนอริบบิ้น หนอนปล้องหนอนถั่ว หนอนช้อน
5. สัตว์กลุ่มหอยและหมึก ได้แก่ ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว ทากทะเล หอยฝาคู่ หมึก
6. สัตว์กลุ่มอาร์โทรพอดได้แก่ เพรียงหิน กุ้งทะเล ปูเสฉวน ปูทะเล
7. สัตว์กลุ่มเอคไคโนเดิร์ม ได้แก่ ดาวทะเล ดาวขนนก ดาวเปราะ เม่นทะเล เม่นทะเล เม่นหัวใจ เหรียญทะเล และปลิงทะเล
4. สัตว์กลุ่มหนอนทะเล ได้แก่หนอนตัวแบนหนอริบบิ้น หนอนปล้องหนอนถั่ว หนอนช้อน
5. สัตว์กลุ่มหอยและหมึก ได้แก่ ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว ทากทะเล หอยฝาคู่ หมึก
6. สัตว์กลุ่มอาร์โทรพอดได้แก่ เพรียงหิน กุ้งทะเล ปูเสฉวน ปูทะเล
7. สัตว์กลุ่มเอคไคโนเดิร์ม ได้แก่ ดาวทะเล ดาวขนนก ดาวเปราะ เม่นทะเล เม่นทะเล เม่นหัวใจ เหรียญทะเล และปลิงทะเล
ปลิงดำ, Holothuria (Halodeima) atra
เม่นดำหนามสั้น, Echinothrix calamaris
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น